หัวข้อ   “คะแนนนิยมของคนกรุงเทพฯ ในช่วงโค้งที่ 3 ของการเลือกตั้ง 54”
 
                 ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์)  เปิดเผยผลสำรวจความคิดเห็น
ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มีทะเบียนบ้านในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 3,338 คน  โดยเก็บข้อมูล
เมื่อวันที่ 16 - 22 มิถุนายน ที่ผ่านมา  พบว่า ในการเลือกตั้ง ส.ส. ในระบบแบ่งเขต คนกรุงเทพฯ
ระบุว่าจะเลือกผู้สมัครของพรรคเพื่อไทย ร้อยละ 37.9   จะเลือกผู้สมัครของพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 22.2 จะเลือกผู้สมัครของพรรครักษ์สันติ ร้อยละ 1.2   จะไม่เลือกใครเลย (Vote No)
ร้อยละ 5.1 ขณะที่ร้อยละ 22.1 ยังไม่ได้ตัดสินใจว่าจะเลือกผู้สมัครของพรรคใด  และร้อยละ 7.6
ไม่ตอบ
ดีมาก (5)
ดี (4)
ปานกลาง (3)
พอใช้ (2)
แย่ (1)
 
 
 
                 เมื่อแยกพิจารณาคะแนนนิยมในแต่ละเขต พบรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้
(กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบเป็นผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งที่มีทะเบียนบ้านอยู่ในเขตนั้นๆ)
เขต
เลือกตั้ง
ที่
เลือก
ผู้สมัคร
พรรค
เพื่อไทย
เลือก
ผู้สมัคร
พรรค
ประชาธิปัตย์
เลือก
ผู้สมัคร
พรรค
อื่นๆ
ไม่เลือก
ใครเลย
(Vote no)
ยัง
ไม่ได้
ตัดสินใจ
ไม่ตอบ
ไม่ไป
ใช้สิทธิ์
/
ไม่แน่ใจว่า
จะไป
ใช้สิทธิ์
รวม
1
20.0
29.0
2.0
16.0
22.0
5.0
6.0
100.0
2
29.0
20.0
1.0
8.0
23.0
18.0
1.0
100.0
3
27.0
25.0
0.0
6.0
30.0
11.0
1.0
100.0
4
29.0
39.0
1.0
2.0
24.0
5.0
0.0
100.0
5
43.1
20.6
2.9
4.9
16.7
11.8
0.0
100.0
6
48.0
21.0
5.0
3.0
18.0
3.0
2.0
100.0
7
30.0
10.0
0.0
2.0
33.0
23.0
2.0
100.0
8
24.8
13.9
5.8
12.9
20.8
13.9
7.9
100.0
9
32.7
24.8
3.9
2.0
36.6
0.0
0.0
100.0
10
21.0
14.3
0.9
3.8
42.9
15.2
1.9
100.0
11
27.7
6.9
15.9
2.0
25.7
21.8
0.0
100.0
12
53.0
21.0
3.0
2.0
16.0
0.0
5.0
100.0
13
67.3
10.9
6.0
5.9
5.9
3.0
1.0
100.0
14
65.0
18.0
1.0
3.0
12.0
0.0
1.0
100.0
15
43.0
31.0
10.0
6.0
7.0
3.0
0.0
100.0
16
41.0
26.0
1.0
3.0
27.0
0.0
2.0
100.0
17
31.0
35.0
0.0
3.0
31.0
0.0
0.0
100.0
18
20.8
38.6
9.9
7.9
11.9
10.9
0.0
100.0
19
35.4
31.3
0.0
0.0
32.3
1.0
0.0
100.0
20
61.0
20.0
0.0
1.0
15.0
2.0
1.0
100.0
21
34.7
33.7
3.8
4.0
22.8
0.0
1.0
100.0
22
32.0
36.0
1.0
5.0
23.0
3.0
0.0
100.0
23
33.0
20.0
2.0
7.0
18.0
18.0
2.0
100.0
24
43.0
23.0
5.0
9.0
15.0
5.0
0.0
100.0
25
44.0
24.0
1.0
5.0
21.0
3.0
2.0
100.0
26
32.1
6.4
1.9
3.7
37.6
11.9
6.4
100.0
27
30.1
10.7
1.9
1.9
27.2
21.4
6.8
100.0
28
30.1
12.4
0.8
1.8
33.6
20.4
0.9
100.0
29
48.5
20.8
3.9
7.9
14.9
4.0
0.0
100.0
30
47.0
26.0
1.0
4.0
10.0
3.0
9.0
100.0
31
36.0
34.0
3.0
10.0
13.0
2.0
2.0
100.0
32
46.0
15.0
1.0
6.0
28.0
4.0
0.0
100.0
33
45.0
13.0
8.0
9.0
13.0
8.0
4.0
100.0
เฉลี่ยรวม
37.9
22.2
3.1
5.1
22.1
7.6
2.0
100.0
 
                 สำหรับการเลือกตั้ง ส.ส ระบบบัญชีรายชื่อ พบว่า คนกรุงเทพฯ ระบุว่าจะเลือกพรรคเพื่อไทย ร้อยละ 38.3
จะเลือกพรรคประชาธิปัตย์ ร้อยละ 21.6   จะเลือกพรรครักประเทศไทย ร้อยละ 3.4   จะเลือกพรรครักษ์สันติ ร้อยละ 1.6
จะไม่เลือกใครเลย (Vote No) ร้อยละ 4.7   ขณะที่ร้อยละ 20.6 ยังไม่ตัดสินใจว่าจะเลือกพรรคใด   และร้อยละ 7.8 ไม่ตอบ
   
                 เมื่อสอบถามว่าอยากได้ใครมาเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุดอันดับแรกพบว่าอยากได้ นางสาวยิ่งลักษณ์
ชินวัตร ร้อยละ 47.2   โดยให้เหตุผลว่า อยากลองให้โอกาสคนใหม่บ้าง อยากให้เป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของไทย
มีประสบการณ์ในการบริหารธุรกิจ  อันดับที่ 2 คือ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ร้อยละ 28.0  โดยให้เหตุผลว่า อยากให้สานงาน
ต่อ งานจะได้ต่อเนื่อง พรรคมีนโยบายที่ดี  อันดับที่ 3 คือ ร.ต.อ. ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ ร้อยละ 5.1  โดยให้เหตุผลว่า
เป็นคนตรงไปตรงมา ซื่อสัตย์ ทำงานจริง  และอันดับที่ 4 คือ นายชูวิทย์ กมลวิศิษฐ์ ร้อยละ 3.9  โดยให้เหตุผลว่า เป็นคน
กล้าพูด พูดตรง เปิดเผยจริงใจ
   
                 ส่วนความเชื่อมั่นต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งในการควบคุมดูแลการเลือกตั้งให้มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
ยุติธรรมพบว่า  ร้อยละ 57.1 ไม่ค่อยเชื่อมั่นถึงไม่เชื่อมั่นเลย  ขณะที่ร้อยละ 42.9 เชื่อมั่นค่อนข้างมากถึงเชื่อมั่นมาก
   
                 เมื่อถามถึง การติดต่อซื้อเสียงจากคนในพื้นที่ พบว่า ร้อยละ 69.9 ระบุว่าไม่มีการซื้อเสียง  ขณะที่ร้อยละ 6.9
ระบุว่ามีการซื้อเสียง  และร้อยละ 23.2 ระบุว่าไม่ทราบ เมื่อแยกพิจารณาเป็นรายเขตเลือกตั้ง พบว่า  มีเพียง 3 เขตที่ไม่มี
การซื้อเสียงได้แก่ เขต 12 เขต 14 และเขต 27   ส่วนเขตที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งระบุว่ามีการติดต่อซื้อเสียงมากที่สุด 3 อันดับแรก
ได้แก่ เขต 4 (ร้อยละ 35)  รองลงมาคือ เขต 17 (ร้อยละ 33.3)  และเขต 2 (ร้อยละ 31.0)  ตามลำดับ
   
                 โปรดพิจารณารายละเอียดใน รายละเอียดต่อไปนี้
 
             1. คะแนนนิยมที่มีต่อพรรคการเมืองในการเลือก ส.ส. ในระบบแบ่งเขต (3 อันดับแรก) พบว่า

 
ร้อยละ
จะเลือกผู้สมัครของพรรคเพื่อไทย
37.9
จะเลือกผู้สมัครของพรรคประชาธิปัตย์
22.2
จะเลือกผู้สมัครของพรรครักษ์สันติ
1.2
ไม่เลือกใครเลย (Vote no)
5.1
ไม่ตอบ
7.6
ยังไม่ตัดสินใจ
22.1
 
 
             2. คะแนนนิยมที่มีต่อพรรคการเมืองในการเลือก ส.ส. ในระบบบัญชีรายชื่อ

 
ร้อยละ
จะเลือกพรรคเพื่อไทย
38.3
จะเลือกพรรคประชาธิปัตย์
21.6
จะเลือกพรรครักประเทศไทย
3.4
จะเลือกพรรครักษ์สันติ
1.6
ไม่เลือกใครเลย (Vote no)
4.7
ไม่ตอบ
7.8
ยังไม่ตัดสินใจ
20.6
 
 
             3. ผู้ที่คนกรุงเทพฯ ระบุว่าอยากให้มาเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด

อันดับ 1
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ร้อยละ 47.2
โดยให้เหตุผลว่า อยากลองให้โอกาสคนใหม่บ้าง อยากให้เป็นนายก
รัฐมนตรีหญิงคนแรกของไทยมีประสบการณ์ในการบริหารธุรกิจ ฯลฯ
อันดับ 2
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ร้อยละ 28.0
โดยให้เหตุผลว่า อยากให้สานงานต่อ งานจะได้ต่อเนื่อง พรรคมีนโยบายที่ดี ฯลฯ
อันดับ 3
ร.ต.อ. ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ ร้อยละ5.1
โดยให้เหตุผลว่า เป็นคนตรงไปตรงมา ซื่อตรง ทำงานจริง ฯลฯ
อันดับ 4
นายชูวิทย์ กมลวิศิษฐ์ ร้อยละ 3.9
โดยให้เหตุผลว่า เป็นคนกล้าพูด พูดตรง เปิดเผย จริงใจ ฯลฯ

 
สำรวจเมื่อวันที่
20 – 22 พ.ค. 54
(ร้อยละ)
สำรวจเมื่อวันที่
2 – 9 มิ.ย. 54
(ร้อยละ)
สำรวจเมื่อวันที่
16 – 22 มิ.ย. 54
(ร้อยละ)
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
26.9
42.6
47.2
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
17.4
23.6
28.0
ร.ต.อ. ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์
2.9
3.9
5.1
นายชูวิทย์ กมลวิศิษฐ์
3.6
2.4
3.9
ยังไม่แน่ใจว่าจะเลือกใคร
49.2
27.5
15.8
 
 
             4. ความเชื่อมั่นต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งในการควบคุมดูแลการเลือกตั้งให้มีประสิทธิภาพและ
                 โปร่งใสยุติธรรม

 
สำรวจเมื่อวันที่
20 – 22 พ.ค. 54
(ร้อยละ)
สำรวจเมื่อวันที่
2 – 9 มิ.ย. 54
(ร้อยละ)
สำรวจเมื่อวันที่
16 – 22 มิ.ย. 54
(ร้อยละ)
ไม่ค่อยเชื่อมั่นถึงไม่เชื่อมั่นเลย
66.1
66.9
57.1
เชื่อมั่นค่อนข้างมากถึงเชื่อมั่นมาก
33.9
33.1
42.9
 
 
             5. การติดต่อซื้อเสียงจากคนในพื้นที่ละแวกบ้านของท่าน พบว่า  

 
ร้อยละ
มีการซื้อเสียง
6.9
ไม่มีการซื้อเสียง
69.9
ไม่ทราบ
23.2

                      เมื่อแยกพิจารณาแบบรายเขตพบว่า
เขตเลือกตั้ง
ที่
มีการซื้อเสียง
(ร้อยละ)
ไม่มีการซื้อเสียง
(ร้อยละ)
ไม่ทราบ
(ร้อยละ)
รวม
(ร้อยละ)
1
3.0
66.7
30.3
100.0
2
31.0
33.0
36.0
100.0
3
2.0
67.0
31.0
100.0
4
35.0
38.0
27.0
100.0
5
6.0
77.0
17.0
100.0
6
15.0
65.0
20.0
100.0
7
1.0
57.0
42.0
100.0
8
5.0
65.3
29.7
100.0
9
4.0
57.0
39.0
100.0
10
1.9
83.8
14.3
100.0
11
2.0
71.5
26.5
100.0
12
0.0
71.4
28.6
100.0
13
10.9
80.2
8.9
100.0
14
0.0
87.9
12.1
100.0
15
8.0
82.0
10.0
100.0
16
3.0
89.0
8.0
100.0
17
33.3
32.3
34.4
100.0
18
1.0
75.5
23.5
100.0
19
3.0
95.0
2.0
100.0
20
1.1
83.1
15.8
100.0
21
1.0
97.0
2.0
100.0
22
9.2
63.2
27.6
100.0
23
5.0
67.0
28.0
100.0
24
1.0
89.0
10.0
100.0
25
16.0
51.0
33.0
100.0
26
0.9
73.4
25.7
100.0
27
0.0
59.8
40.2
100.0
28
2.7
69.0
28.3
100.0
29
1.0
58.6
40.4
100.0
30
9.0
75.0
16.0
100.0
31
9.0
81.0
10.0
100.0
32
4.0
69.0
27.0
100.0
33
4.0
77.0
19.0
100.0
เฉลี่ยรวม
6.9
69.9
23.2
100.0
 
 
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ:
                  เพื่อทราบข้อมูลและความคิดเห็นของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งต่อการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม
2554 ในประเด็นต่อไปนี้
                  1. คะแนนนิยมที่มีต่อพรรคการเมืองในการเลือกตั้ง ส.ส. ในระบบแบ่งเขต
                  2. คะแนนนิยมที่มีต่อพรรคการเมืองในการเลือกตั้ง ส.ส. ในระบบบัญชีรายชื่อ
                  3. คนที่คิดว่าเหมาะสมที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด
                  4. ความเชื่อมั่นต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งในการควบคุมดูแลการเลือกตั้งให้มีประสิทธิภาพและบริสุทธิ์
                      ยุติธรรม
                  5. การซื้อสิทธิ์ขายเสียงในละแวกบ้านของท่าน
 
ระเบียบวิธีการสำรวจ:
                  การสำรวจใช้การสุ่มตัวอย่างประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไปจากทุกสาขาอาชีพ ที่มีทะเบียนบ้านอยู่ในเขต
กรุงเทพมหานครทั้ง 50 เขต  ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) และใช้วิธีเก็บข้อมูล
โดยการสัมภาษณ์แบบพบตัว  ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 3,338 คน  เป็นเพศชายร้อยละ 49.0  และเพศหญิงร้อยละ 51.0
 
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error):
                  ในการประมาณการขนาดตัวอย่างสำหรับผลสำรวจในภาพรวมมีขอบเขตของความคลาดเคลื่อน  2% ที่ระดับ
ความเชื่อมั่น 95%  ส่วนผลสำรวจคะแนนนิยมในรายเขตมีขอบเขตของความคลาดเคลื่อน   10% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
 
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
                  ใช้การสัมภาษณ์แบบพบตัว (Face-to-face Interview) โดยเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม
ที่มีโครงสร้างแน่นอน  ประกอบด้วยข้อคำถามแบบเลือกตอบ (Check List Nominal)  และได้นำแบบสอบถามทุกชุดมา
ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนบันทึกข้อมูลและประมวลผล
 
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล:  16 - 22 มิถุนายน 2554
 
วันที่เผยแพร่ผลสำรวจ: 23 มิถุนายน 2554
 
สรุปข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง:
ตารางข้อมูลประชากรศาสตร์
 
จำนวน
ร้อยละ
เพศ:    
             ชาย
1,635
49.0
             หญิง
1,703
51.0
รวม
3,338
100.0
อายุ:
 
 
             18 – 25 ปี
469
14.1
             26 – 35 ปี
1,050
31.5
             36 – 45 ปี
1,086
32.4
             46 ปีขึ้นไป
733
22.0
รวม
3,338
100.0
การศึกษา:
 
 
             ต่ำกว่าปริญญาตรี
2,524
75.6
             ปริญญาตรี
588
17.6
             สูงกว่าปริญญาตรี
69
2.1
             ไม่ระบุระดับการศึกษา
157
4.7
รวม
3,338
100.0
อาชีพ:
 
 
             ข้าราชการ / พนักงานรัฐวิสาหกิจ / ลูกจ้างราชการ
256
7.7
             พนักงาน / ลูกจ้างบริษัทเอกชน
531
15.9
             เจ้าของกิจการ
192
5.8
             พ่อค้า / แม่ค้า / อาชีพอิสระ
788
23.6
             รับจ้างทั่วไป
618
18.5
             พ่อบ้าน / แม่บ้าน / เกษียณอายุ / ว่างงาน
734
22.0
             นักเรียน / นิสิต / นักศึกษา
219
6.5
รวม
3,338
100.0
รายได้ต่อเดือน:
 
 
             ไม่มีรายได้
461
13.8
             ไม่เกิน 10,000 บาท
1,378
41.3
             10,001 – 20,000 บาท
979
29.3
             20,001 – 30,000 บาท
283
8.5
             30,001 – 40,000 บาท
100
3.0
             40,001 – 50,000 บาท
69
2.1
             มากกว่า 50,000 บาทขึ้นไป
68
2.0
รวม
3,338
100.0
รูปแบบที่อยู่อาศัย:
 
 
             บ้านเดี่ยว
1,489
44.7
             ทาวน์เฮ้าส์
525
15.7
             ตึกแถว / อาคารพาณิชย์
305
9.1
             คอนโด แฟลต
255
7.6
             ห้องแถว / เรือนแถว (ชุมชนแออัด)
632
18.9
             อื่นๆ
132
4.0
รวม
3,338
100.0
 
ติดตามกรุงเทพโพลล์ผ่าน twitter ได้ที่  twitter bangkokpoll
Download PDF file:  
 
ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์)
Email: bangkokpoll@bu.ac.th      โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1770-1776